วันจันทร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

คำถามจากกรณีศึกษา

1. ทำไมยาสีฟันเดนทิสเต้ จึงหนีการเผชิญหน้าเพื่อแข่งขันโดยตรงกับยาสีฟันยักษ์ใหญ่
           ตอบ           
     เพราะว่าบริษัทยักษ์ใหญ่ มีการทำโฆษณาประชาสัมพันธ์ทางโทรทัศน์ทีมีงบไม่อั้น จึงทำให้เดนทิสเต้ไม่อยากที่จะแข่งขันด้วย


2. เดนทิสเต้ได้นำกลยุทธ์อะไรเป็นตับขับเคลื่อน และทำไมจึงใช้กลยุทธ์ดังกล่าว
            ตอบ
4. สมมติว่าท่านได้รับภาระหน้าที่ในการเจาะตลาดยาสีฟันยี่ห้อหนึ่ง ท่านจะใช้กลยุทธ์ใด และจะกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ด้วยการใช้ลักษณะเด่นอะไรที่คิดว่ายังพอมีศักยภาพในการทำกำไร รวมทั้งสร้างความพึงพอใจกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
             ตอบ
     - กลยุทธ์การให้ข่าวสาร( Public Relation Strategy) เช่น การร่วมมือกับสื่อบางสื่อ เพื่อจัดเทศกาลในโอกาสพิเศษ
      - กลยุทธ์ การใช้พนักงานขาย (Personal  Strategy) เช่น คิดค้นโปรแกรมการให้ผลตอบแทนการขาย ( Incentive Program ) ใหม่ๆ เพื่อเป็นรางวัลแก่พนักงานขายที่ทำยอดขายตามเป้า
     - มีการกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ โดยใช้เกณฑ์คุณภาพสูง ราคาสูง เพื่อให้ผู้บริโภคทราบว่า ยี่ห้อยาสีฟันชนิดนี้มีคุณประโยชน์และคุณค่าในสายตาผู้บริโภค


ส่งโดย  นางสาว  เสาววภา  ประเมินชัย  บ.กจ  3/2
อ้างอิง  http://www.iimc.co.th/knowledge/8p.html
 
กลยุทธ์ที่ใช้ คือ กลยุทธ์เจาะตลาดเฉพาะกลุ่ม พร้อมมุ่งเป้าไปที่คู่เพิ่งแต่งงานกัน เหตุที่ใช้เพราะว่า เดนทิสเต้ต้องการสร้างความแตกต่างจากยาสีฟันยี่ห้ออื่น รวมทั้งใช้เป็นจุดขายของเดนทิสเต้อีกด้วย


3. ปัจจัยสำคัญอะไร ที่ยาสีฟันเดนทิสเต้ สามารถเข้ามามีส่วนแบ่งตลาดได้ในระยะเวลาอันสั้น
            ตอบ


     มีการกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ที่ชัดเจน เพราะโดยส่วนใหญ่ยาสีฟันทั่วไป จะดูแลสุขภาพในช่องปากเป็นหลัก และช่วยระงับกลิ่นปาก แต่เดนทิสเต้ มีจุดขายในเรื่องการระงับกลิ่นปากจากการช่วลลดแบคทีเรียที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลับนอน อีกทั้งยังสามารถตอบโจทย์ที่ผู้บริโภคต้องการได้ คือ การมีลักษณะเด่นและความแตกต่าง

คำถามจากกรณีศึกษา

1. ท่านคิดว่า บริษัท Nokia ตัดสินใจกระโดดข้ามมาทำธุรกิจคอมพิวเตอร์แล็ปทอป เป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องหรือ
ม่ อย่างไร จงให้เหตุผลประกอบ
           ตอบ        จาก ความเห็นส่วนตัวคิดว่าไม่ถูกต้อง เนื่องจาก ความน่าเชื่อถือของโนเกียในด้านของแล็ปทอปยังมีน้อยในด้านนี้ อีกทั้งบริษัทคู่แข่งขันนั้นมีความเชี่ยวชาญมากกว่าในสายตาของผู้บริโภค เป็นผลให้การทำการตลาดเพื่อแบ่งส่วนตลาดเป็นไปได้ยาก


2. "โนเกียควรปกป้องตลาดมือถือของตนเองต่อไป โดยไม่จำเป็นต้องลงมาทำตลาดคอมพิวเตอร์ให้เสียเวลา ซึ่งยังมีช่องว่างอยู่มากมายอย่างตลาดของ Smart-Phone ที่โนเกียสามารถรุกเข้าไปทำตลาดอย่างจริงจัง" อยากทราบว่า Smart-Phone คืออะไร และท่านเห็นดัวยกับกลยุทธ์ตามดังกล่าวข้างต้นหรือไม่ อย่างไร
           ตอบ       Smart Phone หมายถึงโทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถพิเศษเพิ่มเติมของ PDA เข้าไป ทำให้สามารถมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น รับส่งอีเมล์ มีปฏิทิน จัดทำตารางนัดหมาย และ contact เป็นต้น เรียกได้ว่า Smart Phone เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดย่อมเลยทีเดียว  จากข้อความผมเห็นดัวย เนื่องจากถ้าพิจารณาจากตลาดมือถือยังถือว่ากว้างมาก นอกจากนั้นโนเกียยังเป็นยี่ห้อมือถือที่ลกค้าให้ความเชื่อมั้น ควรตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าให้มากจะเป็นการดีที่สุด


 3. บริษัท Apple ซึ่งเดิมเป็นผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ในนามของ Macintosh ที่ได้ขยายธุรกิจข้ามมายังอุตสาหกรรมโทรศัพท์มือถือในนามของ iPhone และยังสามารถยืนหหยัดทำสำเร็จจนเป็นที่นิยมแพร่หลายไปทั่วโลก ท่านคิดว่าบริษัท Apple ได้ชูกลยุทธ์ใดในการเข้าถึงกลุมลูกค้า
           ตอบ       Apple ได้ชูกลยุทธ์ด้านการออกแบบสินค้า โดยออกแบบให้เป็นผลิตภัณฑ์แฟชั่น โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือคนรุ่นใหม่ที่ชอบเทคโนโลยี ทั้งนี้ตลาดส่วนใหญ่เป็นตลาดระดับบนที่มีรายได้สูง

ส่งโดย  นางสาว  เสาวภา  ประเมินชัย  บ.กจ  3/2
อ้างอิง http://wattanachai-mc.blogspot.com/:วัฒนชัย จิตเย็น

ทำไมเราต้องอยู่ในคลื่นลูกที่ 4

  ตอบ        แม้จะมีความคิดที่ก้าวหน้า มีพลังทรัพย์ พลังการบริหารในระดับหนึ่ง แต่ยังมีพลังไม่มากพอที่จะเปลี่ยนแปลงสังคม ในเชิงของปริมาณนั้นผมไม่เป็นห่วง เพราะการเปลี่ยนแปลงมักเริ่มจากคนจำนวนน้อยเสมอ ประวัติศาสตร์บอกเช่นนั้น แต่ในเชิงคุณภาพนั้นผมจะช่วยเติมเต็มให้ เพราะแม้พวกนี้จะมีความฉลาดล้ำ มีกลยุทธ์พลิกแพลง แต่เนื่องจากในสังคมไทยมีการแสวงหาทางปัญญากันน้อยเกินไป ดังนั้น พวกนี้จึงขาดยุทธศาสตร์ชี้นำ ยุทธศาสตร์ที่แหลมคม เพราะหากไม่มียุทธศาสตร์ที่ถูกต้องพวกเขาจะทุ่มพลังที่ยังไม่เติบกล้านี้ไปอย่างเหวี่ยงแห ถูกบ้างผิดบ้าง ไม่สามารถรวมศูนย์พลังเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมได้

                เหตุการณ์ Tsunami ถล่มภาคใต้ของเราเมื่อ 4 ปีก่อน เป็นโศกนาฏกรรมที่สังคมไทยต้องจดจำและจารึกถึง แต่สิ่งที่น่ากลัวยิ่งกว่าคือ Tsunami of Economy ซึ่งจะไม่เพียงกระหน่ำพื้นที่เล็กๆในประเทศเหมือน Tsunami Wave เมื่อ 4 ปีที่แล้ว แต่จะโหมกระหน่ำทุกภาคส่วนในสังคมไทยอย่างไม่ต้องสงสัย และทุกคนต้องได้รับผลกระทบอย่างไม่ต้องสงสัย ดังนั้น การเรียนรู้วิธีรับมือกับ Tsunami of Economy จึงเป็นสิ่งสำคัญ
                เราคงจำกันได้ว่า ฝรั่งและคนไทยบางส่วนที่มีความรู้เกี่ยวกับ Tsunami พอเห็นน้ำลดลงอย่างฉับพลัน จึงเกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า Tsunami มาแน่ ขณะที่คนที่ไม่รู้อิโหน่อิเหน่ก็คิดว่าเป็นปรากฏการณ์ธรรมดา สุดท้ายคนที่รู้จัก Tsunami จึงเป็นผู้รอดชีวิตอย่างแท้จริง และสิ่งที่น่ากลัวคือ คนกลุ่มนี้อาจพยายามช่วยคนอื่นๆ แต่มีสักกี่คนจะยอมเชื่อเขา คนที่รำคาญเพราะมองเห็นว่าพวกนี้มองโลกในแง่ร้ายขัดขวางความสุขสงบของการพักผ่อนในชายหาดแสนสวยจึงต้องเคราะห์ร้ายอย่างน่าสงสาร แต่ย่อมมีคนบางคนซึ่งน่าจะเป็นคนส่วนน้อยเกิดความตื่นตันใจและนับถือคนที่มาช่วยเตือน จนในที่สุดก็สามารถรอดพ้นจากมหันตภัยครั้งนั้นได้
ส่งโดย  นางสาว  เสาวภา  ประเมินชัย  บ.กจ 3/2
อ้างอิง
http://www.siamintelligence.com/tsunami-of-economics-wave/: เจริญชัย  ไชยไพบูลย์วงศ์

วันจันทร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

คลื่นลูกที่ 1/2/3/4 แตกต่างกันอย่างไร

 
ตอบ         คลื่นแต่ละลูกสะท้อนความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในวิถีชีวิตของมนุษย์  เทคโนโลยีใหม่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงนั้น  ย้อนไปในสมัยโบราณ มนุษย์เราดำรงชีวิตด้วยการหาของป่าและล่าสัตว์จนมาถึงเมื่อราว ๑๐,๐๐๐ ปีที่แล้วจึงเกิดเทคโนโลยีใหม่ซึ่งได้แก่การค้นพบวิธีปลูกพืชและเลี้ยง สัตว์  การค้นพบนั้นก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ได้แก่ การตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนถาวรแทนการเร่ร่อนไปตามฤดูกาล 
คลื่นลูกแรก  
               คือ  ยุคแห่งเกษตรกรรม สังเกตได้จากการที่คนสมัยก่อนที่ มีที่เยอะทำเกษตรกรรมค้าขายเกี่ยวกับสินค้าเกษตรกรรม จะร่ำรวยมีเงินมีทอง และ ผู้ที่หลงเหลือจากยุคนั้นก็ยังมีให้เห็นอยู่ประปราย โดยที่ถ้าเราจะทำในยุคนี้นั้นแสนจะลำบากราคาค่าที่ดินเพิ่มขึ้นมาก คู่แข่งก็มากมาย

 
คลื่นลูกที่สอง  
               คือ  ยุคของอุตสาหรรม ช่วงที่ประเทศเกิดการพัฒนา เปลี่ยนแรงคนแรงสัตว์ให้เป็นแรง เครื่องจักร ก็ทำให้คนเบาแรงลง และก็ทำให้เจ้าของธุรกิจ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเจริญรุ่งเรืองไปตามๆกัน รวมถึงโรงงานผลิตต่างๆนาๆที่ปัจจุบันก็ยังทำรายได้ดีอยู่ แต่ก็อีกเช่นกัน ครั้นเราจะเป็นเจ้าของโรงงานแบบนั้นอีก คงจะยากแล้ว เพราะหมดแล้วซึ่งยุคที่รุ่งเรืองด้านอุตสาหกรรม ต้องมีเงินมากพอเท่านั้นถึงจะอยู่ได้ยาวกว่าและเป็นอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวข้องกับสิ่งที่มนุษย์จำเป็นต้องใช้นั่นเอง 

คลื่นลูกที่สาม   
                    คงไม่ต้องบรรยายมากเพราะมันคือ ยุคแห่งการสื่อสารไร้พรหมแดนยุคแห่งเทคโนโลยี ยุคที่จะทำให้คนที่มีความรู้ และทันสมัยพอที่จะเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ จะเหมือนพยัคฆ์ติดปีกเลยทีเดียว สามารถนำไปใช้ได้หลากหลายรูปแบบ และเป็นพื้นฐานของการทำงานในอีกหลายๆด้าน แทบจะทุกด้านเลยทีเดียว

คลื่นลูกที่สี่ 
             ที่ไม่ได้ใหม่กิ๊ก แต่สำหรับเมืองไทยยังไม่เป็นที่ยอมรับเท่าที่ควร ก็ได้พิสูจน์แล้วว่ามันคือลูกที่ 4 จริงๆ คือ ยุคของธุรกิจเครือข่าย ปัจจุบัน ต่างประเทศมากมายธุรกิจเครือข่ายเป็นที่ยอมรับ เนื่องจากเป็นธุรกิจที่เปิดโอกาสให้คนทุกระดับชั้นเข้ามาศึกษาและสามารถประสบความสำเร็จได้ทั่วถึงกัน ณ จุดนี้เองที่ทำให้ผม มองดูธุรกิจเครือข่าย ในมุมมองใหม่ๆ มุมมองของการกระจายรายได้
การกระจายรายได้ของธุรกิจเครือข่ายนั้นไม่ธรรมดา อยู่ที่เจตนาของผู้ก่อตั้ง ว่าอยากให้มีการกระจายแบบเน้นที่กลุ่มไหน กลุ่มผู้บริโภค หรือ กลุ่มนักขาย ส่วนใหญ่ในช่วงแรกๆของการเปิดตัวธุรกิจแนวๆนี้ มักจะเป็นธุรกิจที่เน้นเครือข่ายนักขายเพราะตรงนั้นเองจะทำให้ ผู้ก่อตั้งได้รับผลประโยชน์สูงมากในระดับหนึ่ง แต่ก็เกิดการตัดราคาเหมือนการขายของแข่งกันขึ้น แข่งกันให้มากกว่า ให้กระจายกว่า จนสุดท้ายถึงตอนนี้ ถึงที่สุดแล้วคือการกระจายรายได้ที่ 60% ของราคาสินค้า ให้ผู้ที่เข้าร่วมธุรกิจ ส่วนตัวผมคิดว่าหากมากกว่านี้ สินค้าที่บริโภค ราคาจะไม่สมน้ำสมเนื้อกับคุณภาพแล้วนั่นเอง จึงกล่าวได้ว่าช่วงเวลาแห่งการสู้รบปรบมือกันเรื่องของการแบ่งจ่ายผลประโยชน์นั้นหมดไปแล้ว

ส่งโดย  นางสาว  เสาวภา  ประเมินชัย  บกจ.  3/2

อ้างอิง
http://myaimstar.exteen.com/20100804/entry

กรณีศึกษาบทที่ 4 ตอนที่ 2

    1.  ผลประโยชน์ทางะรกิจอะไรที่บริษัทคาดหวังจากการเปลี่ยนคลังข้อมูลและระบบธุรกิจปัจจุบันเป็นโปรแกรมประยุกต์ Oracle  Suiste

ตอบ   การเปลี่ยนไปยังคลังข้อมูลสำเร็จรูปแบบบูรณาการและโปรแกรมประยุกต์จะนำมางการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมครั้งใหญ่  ซึ่งอาจจะเป็ยส่วนที่ยากที่สุด "สิ่งท้าทายคือการทำให้ทุกคนพอใจสมความต้องการโดยเจ็บปวดน้อยที่สุดและยังคงสร้างสิ่งที่เราสามารถสนับสนุนได้ตามปกติ"


   2.   บทเรียนทางธุรกิจอะไรที่  บริษัทเรียนรู้จากการใช้คลังข้อมูลปัจจุบัน


ตอบ   มูลค่าของคลังข้อมูลและเครื่องมือวิเคราะห์ของธุรกิจ  คลังข้อมูลชาวยให้เราเข้าใจธุรกิจทำให้เราสามารภวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไรของธุรกิจได้


   3.     ข้อได้เปรียบและเสียเปรียบที่มีต่อผู้ใช้ของธุรกิจในการย้ายไปใช้โปรแกรมประยุกต์  Oracle  Suite


ตอบ     ข้อมูลใหม่รวมกิจกรรมซอฟต์แวร์ประจำที่ทำหน้าที่บีบและแปลงข้อมูลจากฐานข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงเชิงสัมพันธ์เดิมของบริษัทและย้ายไปเป็นคลังข้อมูลใหม่ซึ่งเป็นฐานข้อมูงหลายมิติจัดการโดยเครื่องแม่ข่าย  Oracle  Express ผู้ใช้จะใช้   Discover  ซึ่งเป็นเครื่องมือสอบถามและจัดทำรายงานเช่นเดียวกับเครื่องมืออื่นจากผลิตภัณฑ์ของ Oracle  Express เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการ


ส่งโดย  นางสาว  เสาวภา  ประเมินชัย  บกจ. 3/2

อ้างอิง หนังสือ ระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผนทางการบริหาร  อ. ทาริกา  รัตนโสภา

กรณีศึกษาบทที่ 4 ตอนที่ 1

        1.  Sear  ใช้ข้อมูลภายนอกในคลังข้อมูลเพื่อปรับปรุงธุรกิจได้อย่างไร

ตอบ      นำไปขยายธุรกิจและเรื่องการบริโภคของประชากรในคลังข้อมูงเพื่อพิจารณาตัดสินใจเรื่อง   สถานที่ตั้งของร้านใหม่


        2.   มูลค่าทางธุรกิจ (Business  Value)  อะไรที่  MCI  ได้รับจากคลังข้อมูลภายนอก

ตอบ        ข้อมูลในคลังเรื่องพฤติกรรมการซื้อของลูกค้าของตนและลูกค้าของธุรกิจอื่น  เพื่อปรัปรุงการโฆษณาการตลาดให้ประสบความสำเร็จโดยการรวบรวมข้อมูลภายในและภายนอกของลูกค้าและข้อมูลการตลาดในคลังข้อมูลทำให้บริษัทสามารถวิเคราะห์ผลการดำเนินกิจการและกำหนดกลยุทธศาสตร์การตลาดได้ดีขึ้น


         3.  ท่านคิดอย่างไรที่  Mary  Ann  Beach  หมายถึงเมื่อเธอกล่าวถึงข้อมูลภายนอกว่าเป็น      "ความลับวิธีการที่ทำเงินให้เรา" ในการรณรงค์ทางด้านการตลาด


ตอบ       การเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดข้อมูลมากมาย  สารสนเทศลูกค็ของที่จัดเก็บมีทั้งภายในและภายนอกจำนวนเท่า  ๆ  กัน  แต่ข้อมูลภายนอก  "เป็นความลับวิธีการที่ทำเงินให้เรา" ในการรณรงค์ทางด้านการตลาด

ส่งโดย  นางสาว  เสาวภา   ประเมินชัย  บกจ. 3/2

อ้างอิง  หนังสือ ระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผนทางการบริหาร  อ.  ทาริกา  รัตนโสภา
       

วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 3

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3
ตอบ 1. ใช้ เพราะแนวคิดเชิงระบบในการใช้แก้ปัญหานั้น เป็นแนวคิดที่สามารถนำไปแก้ปัญหาได้ทุกทางของปัญหา และเป็นกระบวนการที่เป็นระบบในการจัดลำดับความคิดมากขึ้น
2. เป็นการพัฒนาการที่รวดเร็วและเป็นการทดสอบการทำงานของแบบจำลองหรือต้นแบบของระบบงานใหม่ ในการโต้ตอบและกระบวนการทำซ้ำประโยคคำสั่งในโปรแกรม เรียก การรวนรอบ
3. การสร้างต้นแบบสามารถใช้ได้ทั้งกับระบบงานขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ระบบงานขนาดใหญ่มีความต้องการในการใช้การพัฒนาจากระบบแบบเดิม ต้นแบบของระบบงานด้านธุรกิจที่เกิดความต้องการจากผู้ใช้นั้นจะช่วยให้การพัฒนาดำเนินไปได้อย่างรวดเร็ว และสามารถทำซ้ำหรือปรับแต่งในส่วนของรายละเอียดจนผู้ใช้ให้การยอมรับ การทำต้นแบบขึ้นอยู่กับกระบวนการพัฒนาระบบสำหรับการใช้งานด้านธุรกิจ

4.

หลักเกณฑ์
น้ำหนัก
ทางเลือกที่ 1
คะแนน
ทางเลือกที่ 2
คะแนน
ค่าใช้จ่ายเริ่มต้น
20
1,000,000 บาท
12
200,000 บาท
20
ค่าใช้จ่ายในการเดินเนินงาน
30
100,000 บาท
25
300,000 บาท
18
สะดวกต่อการใช้งาน
20
ดี
16
พอใช้
12
ความถูกต้อง
20
ดีเยี่ยม
20
พอใช้
8
ความน่าเชื่อถือ
10
ดีเยี่ยม
10
ดีเยี่ยม
10
รวม
100

83

68

    เลือกทางเลือกที่ 1 เพราะว่าง่ายต่อการใช้งานดี มีความถูกต้องดีเยี่ยม และความถูกต้องดีเยี่ยม ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีถึงค่าใช้จ่ายเริ่มต้นจะสูงก็ตามแต่ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่อปีน้อยกว่าทางเลือกที่ 2

5. ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ (Word processing)
           ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ต้องติดตั้งโปรแกรมสำหรับงานพิมพ์เอกสารรวมอยู่ด้วย ซึ่งโปรแกรมนี้ทำให้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสำหรับสร้าง แก้ไข ตรวจสอบ พิมพ์ และจัดเก็บข้อความต่าง ๆ หนังสือที่จำหน่ายในท้องตลาดในปัจจุบันนี้ ส่วนมากก็เริ่มต้นจากการพิมพ์ข้อความลงในคอมพิวเตอร์ด้วยซอฟต์แวร์ที่ประมวลคำ
     ซอฟต์แวร์กราฟิก (Graphic Software)
           เป็นซอฟต์แวร์สำหรับสร้างภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ การใช้งานในระดับเบื้องต้นอาจนำไปใช้ประกอบการสร้างเอกสาร หรือการนำเสนอข้อมูล ส่วนการใช้ในระดับสูงอาจใช้สำหรับการตกแต่งภาพหรือรูปถ่าย หรือใช้สำหรับงานด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม เป็นต้น
6. เพราะการใช้ I-CASE สามารถใช้ช่วยการพัฒนาระบบทุกส่วนของเคสทูล ช่วยสนับสนุน JAD ซึ่งกลุ่มของนักวิเคราะห์ระบบโปรแกรมเมอร์และผู้ใช้ สามารถใช้งานร่วมกันใยการออกแบบระบบงานใหม่ได้อย่างดี

นางสาว เสาวภา  ประเมินชัย สาขา การจัดการ 3/2